จริงๆต้อง O ใหญ่ แล้วห้องเลข 2
ออกซิเจน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
8 ไนโตรเจน ← ออกซิเจน → ฟลูออรีน
↑
O
↓
S
ทั่วไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, หมายเลข ออกซิเจน, O, 8
อนุกรมเคมี แชลโคเจน
หมู่, คาบ, บล็อก 16, 2, p
ลักษณะ ไม่มีสี
มวลอะตอม 15.9994(3) กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 1s2 2s2 2p4
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 6
คุณสมบัติทางกายภาพ
สถานะ แก๊ส
ความหนาแน่น (0 °C, 101.325 kPa)
1.429 กรัม/ลิตร
จุดหลอมเหลว 54.36 K
(-218.79 °C)
จุดเดือด 90.20 K(-182.95 °C)
ความร้อนของการหลอมเหลว (O2) 0.444 กิโลจูล/โมล
ความร้อนของการกลายเป็นไอ (O2) 6.82 กิโลจูล/โมล
ความร้อนจำเพาะ (25 °C) (O2)
29.378 J/(mol·K)
ความดันไอ
P/Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T K 61 73 90
คุณสมบัติของอะตอม
โครงสร้างผลึก cubic
สถานะออกซิเดชัน −2, −1
(neutral oxide)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 3.44 (พอลิงสเกล)
พลังงานไอออไนเซชัน
(เพิ่มเติม) ระดับที่ 1: 1313.9 กิโลจูล/โมล
ระดับที่ 2: 3388.3 กิโลจูล/โมล
ระดับที่ 3: 5300.5 กิโลจูล/โมล
รัศมีอะตอม 60 pm
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 48 pm
รัศมีโควาเลนต์ 73 pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 152 pm
อื่น ๆ
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก paramagnetic
การนำความร้อน (300 K) 26.58 mW/(m·K)
ความเร็วเสียง (gas, 27 °C) 330 m/s
เลขทะเบียน CAS 7782-44-7
ไอโซโทปที่น่าสนใจ
บทความหลัก: ไอโซโทปของoxygen
iso NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
16O 99.762% O เสถียร โดยมี 8 นิวตรอน
17O 0.038% O เสถียร โดยมี 9 นิวตรอน
18O 0.2% O เสถียร โดยมี 10 นิวตรอน
แหล่งอ้างอิง
ออกซิเจน(อังกฤษ: Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่นๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพืช
เนื้อหา [ซ่อน]
1 แหล่งกำเนิด
2 สารประกอบออกซิเจน
3 ดูเพิ่ม
4 อ้างอิง
5 แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]แหล่งกำเนิด
ออกซิเจน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญและมีปริมาณเป็นอันดับ 2 ในส่วนประกอบของบรรยากาศโลกคือมีประมาณ 20.947% โดยปริมาตร
[แก้]สารประกอบออกซิเจน
เนื่องด้วยค่า อิเล็กโตรเนกาติวิตี ของออกซิเจน จะเกิด พันธะเคมี กับธาตุอื่นๆ ได้เกือบหมด (และนี่คือจุดเริ่มต้นของคำจำกัดความว่า ออกซิเดชัน) มีเพียงก๊าซมีตระกูลเท่านั้นที่หนีรอดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันไปได้ และออกไซด์ที่มีชื่อเสียงที่สุดก็คือ ไดไฮโดรเจนโมโนออกไซด์ หรือ น้ำ (H2O).
ตัวอย่างที่รู้จักกันดีของสารประกอบคาร์บอนและออกซิเจนคือ
คาร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide-CO2),
แอลกอฮอล์ (alcohol-R-OH),
อัลดีไฮด์ (aldehyde-R-CHO),
กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid-R-COOH).
ออกซิเจเนต อนุมูล เช่น
คลอเรต (chlorate-ClO3−),
เปอร์คลอเรต (perchlorate-ClO4−),
โครเมต (chromate-CrO42−),
ไดโครเมต (dichromate-Cr2O72−),
เปอร์แมงกาเนต (permanganate-MnO4−), and
ไนเตรต (nitrate-NO3−) เป็นออกซิไดซิ่งเอเจนต์อย่างแรง โลหะหลายตัวเช่นเหล็กมีพันธะกับออกซิเจนอะตอม เช่น เหล็ก(III) ออกไซด์ (Fe2O3).
โอโซน (Ozone-O3) เกิดขึ้นโดยการปลดปล่อยไฟฟ้าสถิตที่อยู่ในโมเลกุลของออกซิเจน 2 โมเลกุลของออกซิเจน (O2)2 ซึ่งพบในส่วนประกอบย่อยของออกซิเจนเหลว
อีป๊อกไซด์ (Epoxide) เป็น อีเทอร์ ซึ่งออกซิเจนอะตอมเป็นส่วนหนึ่งของวงแหวน 3 อะตอม