ตาเราส่งสัญญาณไปสมองเท่าความเร็ว ethernet! ?

“The researchers calculate that the 100,000 ganglion cells in a guinea pig retina transmit roughly 875,000 bits of information per second. The human retina contains about 10 times more ganglion cells than that of guinea pigs, so it would transmit data at roughly 10 million bits per second, the researchers estimate. This is comparable to an Ethernet connection, which transmits information between computers at speeds of 10 million to 100 million bits per second.”

อ่านเอาสนุกนะครับ

ไม่มีทางที่จะเอาคนไปเทียบกับ digital ได้เลยครับ กลไกทั้งหลายของเราทำงานแบบ analogue หรือ ไม่ก็ fuzzy mode (ผมคิดเอาเอง)

แต่สมองคนเราประมวลผลได้แบบอัฉริยะและซับซ้อน จนปัจจุบันถึงแม้เทคโนโลยีพัฒนาไปมากแล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มี AI ที่เรียนรู้และคิดวิเคราะห์ได้เท่าเทียมมนุษย์

ไม่ต้องเก่งเท่าสมองมนุษย์หรอกน่ะครับ ผมว่าเอาแค่ 1 ใน 10 ของสมองคนได้เนี่ย
digital ก็น่ากลัวแล้วครับ

ไม่ว่าจะ คอมพิวเตอร์ หรือ เครื่องคิดเลข แม้แต่ ลูกคิดร้านอาม่า
ก็เป็นได้แค่เครื่องทุ่นแรงของมนุษย์เท่านั้นแหละครับ

lol

แน่ใจหรอครับว่าตาเราไว “แค่” เท่ากับ ethernet -.-’’

ผมว่าไวกว่านั้นนะครับ

  1. ถ้าคิดเป็นความละเอียดของ ccd เทียบกับ retina ถ้าจำไม่ผิดนะครับ คนเรามีโคนรับแสง ~ 100 ล้านโคน (ขาวดำ) , กรวยรับแสง (แม่แสง แดง เขียว น้ำเงิน) อีก ~ 30 ล้านกรวย แสดงว่าความละเอียดอยู่ที่ประมาณ 130 ล้าน pixel
  2. ตาคนปกติทั่วไปมองเห็นภาพที่ frame rate ประมาณ 30 fps

เอามารวมกัน >>> 30 * 130,000,000 == 3,900,000,000 pixel/s คิดเทียบกับ digital video ความละเอียดสูงๆ เอาง่ายๆ ก็ hdtv สูงดี 1920x1200 pixel (ความละเอียด 2,304,0000 ต่างกันราวๆ 60 เท่า) @ 29.97 fps ที่ bit rate

ในบทความมีคำนวณไว้ครับน้อง iCeZ ลองอ่านดู

แต่ใน /. เขาก็บอก ไม่มีทางเท่าคนแน่ และผมก็คิดว่ายังงั้นนะ
เราไม่ได้วิเคราะห์ข้อมูล หรือสื่อสารข้อมูลผ่าน neuron เป็น digital

ตัวที่จะน่ากลัวคือ 2 ตัวนี้ครับ

[b]Quantum Computer[/b]

A quantum computer is any device for computation that makes direct use of distinctively quantum mechanical phenomena, such as superposition and entanglement, to perform operations on data. In a classical (or conventional) computer, the amount of data is measured by bits; in a quantum computer, it is measured by qubits. The basic principle of quantum computation is that the quantum properties of particles can be used to represent and structure data, and that quantum mechanisms can be devised and built to perform operations with this data…

และ

[b]DNA Computer[/b]

For certain specialized problems, DNA computers are faster and smaller than any other computer built so far. But DNA computing does not provide any new capabilities from the standpoint of computational complexity theory, the study of which computational problems are difficult. For example, problems which grow exponentially with the size of the problem (EXPSPACE problems) on von Neumann machines still grow exponentially with the size of the problem on DNA machines. For very large EXPSPACE problems, the amount of DNA required is too large to be practical. (Quantum computing, on the other hand, does provide some interesting new capabilities)…

pizzaman เยี่ยมยอดเลยเนื้อหาแน่นมาก ทำให้มีอะไรพูดคุยมากขึ้น ได้ความรู้
ถึงแม้จะยังไม่เขาใจทั้งหมดเลย

คหสต.

Computer ไม่มีการเสี่ยมสภาพทางหน่วยความจำ ไม่ได้หมายรวมถึงการเสี่ยมสภาพส่วนที่เคลื่อนไหว หรือสารเสื่อมเนื่องจากไฟฟ้าสถิตย์ หรือสนามแม่เหล็ก ไม่เจ็บนะพังเลย ไม่ป่วยก็ไม่ได้นะมี Virus เหมือนคน แต่คนละรูปแบบ

มนุษย์ นี้ลืมได้ เจ็บป่วย ทุกอย่างตรงกันข้ามกับ Computer,ลักษณะโครงสร้างภายในของมนุษย์ซับซ้อน

สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันของทั้งสองอย่างคือ ความผิดพลาดจากการผลิต มีทั้งคู่ :slight_smile:

[quote author=mr.tong link=topic=3778.msg29412#msg29412 date=1154624518]
สิ่งหนึ่งที่เหมือนกันของทั้งสองอย่างคือ ความผิดพลาดจากการผลิต มีทั้งคู่ :slight_smile:
[/quote] lol อ่านถึงนี้แล้วฮากลิ้งเลยครับ

ไม่เคยมีระบบใดทำได้ 100% น่ะเอง